Thailand's election: A slap in the face for the military, Democrat Party and royalist elites

Thailand's new prime minister, Yingluck Shinawatra.

"This election is only one step towards restoring democracy. It will take mass participation of the Red Shirts in order to strengthen and speed up the process."

[For more on Thailand and the Red Shirt movement, click HERE.]

By Giles Ji Ungpakorn

July 4, 2011 – Links International Journal of Socialist Renewal – The results of Thailand's July 3 general election are a slap in the face for the dictatorship. They prove without any doubt that the majority of people have rejected the military, the Democrat Party and the royalist elites. Pheu Thai, the party closely allied to the Red Shirt movement, has won a clear majority. The result is all the more remarkable, given that the election was held under conditions of severe censorship and intimidation of the Red Shirt democracy movement by the military and the military-installed Democrat Party government of Abhisit Vejjajiva.

This election confirms that the Abhisit government never had a mandate from the people. It confirms that the 90+ pro-democracy activists who were shot down by military snipers last year, were shot in order to keep the Democrat Party and the military in power.

Every single election since 2001 has been won by the Thai Rak Thai or its descendants, Palang Prachachon and now Pheu Thai. The latest results expose the lies of the military, the mainstream media, the liberal academics, the NGOs and the Democrat Party, all of whom supported the 2006 military coup and claimed that it was “necessary” because the majority of the electorate “didn’t understand democracy” or were “bought off” in election frauds.

The latest election is a vindication of the struggles and sacrifices of the Red Shirts and it proves the deep commitment to democracy among the majority of Thai citizens, especially the poor.

But the important question after the election is whether the Pheu Thai government will meet such commitments to freedom and democracy shown by those who voted for it.

If Thailand is to shake off the legacy of the 2006 military coup and the subsequent destruction of the democratic process by the courts and the Abhisit government, this new government must take some immediate and important measures. These include:

1. freeing all political prisoners, including those jailed or charged under the notorious lèse majesté law

2. ending censorship of all types, especially of the internet and community radio stations

3. sacking army chief General Prayut Junocha on the grounds that he sought to influence the outcome of the election and announced that he opposed Pheu Thai policies in the South; the army chief should be the servant of an elected government and never have special extra-constitutional powers to intervene in politics

4. the indictment and trial of former prime minister Abhisit and his deputy Sutep, along with generals Anupong and Prayut on the grounds of murdering Red Shirt civilians last year

5. the temporary re-introduction of the 1997 constitution, instead of the present military constitution, and the start of a process to rewrite the constitution to increase freedom and democracy

6. scrapping the lèse majesté and computer crimes laws that prevent freedom of expression.

In the long term, Thai society must seek ways to totally reform the military, drastically cutting its budget and removing its control of the media. This will reduce its political influence. The justice system, which has been plagued by double standards, must also be seriously reformed and measures should start in the process of building a welfare state in order to reduce inequality.

But it is doubtful whether the Pheu Thai Party will have any intention of carrying out these necessary changes. It will be up to the Red Shirt movement to push the new government into making more radical reforms rather than doing secret and dirty compromises with the military and the elites.

Of course, the Red Shirt movement has many factions within it. This is normal for such a large mass movement. Some will want to wind down the movement and leave the business of politics to the new government. This would be a serious mistake. The more radical sections of the movement must continue the struggle for justice and equality in order to bring about real changes.

This election is only one step towards restoring democracy. It will take mass participation of the Red Shirts in order to strengthen and speed up the process.

[Giles Ji Ungpakorn is a political commentator and dissident. In February 2009 he had to leave Thailand for exile in Britain because he was charged with lèse majesté for writing a book criticising the 2006 military coup. He is a member of Left Turn Thailand, a socialist organisation. His latest book, Thailand’s Crisis and the Fight for Democracy, will be of interest to activists, academics and journalists who have an interest in Thai politics, democratisation and NGOs. His website is at http://redthaisocialist.com/.]

ประชาชนปฏิเสธเผด็จการมือเปื้อนเลือดอย่างชัดเจน 

ใจ อึ๊งภากรณ์ 

การ เลือกตั้งครั้งนี้พิสูจน์อย่างเถียงไม่ได้เลย ว่าประชาชนไทยส่วนใหญ่ มีวุฒิภาวะและอุดมการณ์ประชาธิปไตย เพียงพอที่จะปฏิเสธเผด็จการมือเปื้อนเลือดของอำมาตย์ และสิ่งที่น่ามหัศจรรย์คือมันเป็นชัยชนะของพรรคเพื่อไทยภายใต้สถานการณ์ที่ ยากลำบาก เพราะฝ่ายอำมาตย์ปิดกั้นสื่อ และกลั่นแกล้งสร้างอุปสรรค์ให้กับเพื่อไทยและคนเสื้อแดงมาตลอด

     แต่คำถามสำคัญหลังการเลือกตั้งคือ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยจะมีวุฒิภาวะและอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่เท่าเทียมกับ ประชาชนผู้เลือกหรือไม่ และจะเดินหน้าพัฒนาสิทธิเสรีภาพกับประชาธิปไตย หรือจะประนีประนอมแบบสกปรกกับฝ่ายเผด็จการ

     ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ พิสูจน์ว่ารัฐบาลประชาธิปัตย์ ที่ก่อตั้งในค่ายทหาร หลังการยุบพรรคพลังประชาชน ไม่เคยได้รับการสนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่เลย และประชาชนส่วนใหญ่สนับสนุนขบวนการเสื้อแดงมาตลอด มันพิสูจน์อีกว่าพวกชนชั้นกลาง สื่อมวลชน เอ็นจีโอเหลือง และพวกพันธมิตรฯ โกหกเวลาพยายามแสวงหาความชอบธรรมกับการทำรัฐประหาร ๑๙ กันยา ภายใต้อคติหลอกลวงว่า “มีการโกงการเลือกตั้งในอดีตโดยไทยรักไทย” หรือ “ประชาชนส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงข้อมูลและไม่เข้าใจประชาธิปไตย” สรุปแล้ว พวกที่สนับสนุนรัฐประหาร ๑๙ กันยา สนับสนุนพันธมิตรฯ สนับสนุนการปราบปรามคนเสื้อแดง หรือสนับสนุนการฉีกทิ้งรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐  ล้วนแต่เป็นคนส่วนน้อย ที่โกหกบิดเบือนความจริงเกี่ยวกับสังคมไทย เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของคนชั้นสูง ซึ่งตรงข้ามโดยสิ้นเชิงกับผลประโยชน์ของประชาชนคนจน

     นอกจากนี้ การเลือกตั้งพิสูจน์ว่าประชาชนปฏิเสธพวกนายพลเผด็จการ อย่าง ประยุทธ์ อนุพงษ์ หรือสนธิ  ที่แทรกแซงการเมือง ทำลายประชาธิปไตย และเข่นฆ่าคนเสื้อแดง ดังนั้นมันถึงเวลาแล้วที่สังคมไทยจะต้องมาทบทวนบทบาทของกองทัพ และปลดนายพลที่แทรกแซงการเมืองออกจากตำแหน่ง

     รัฐบาลของอภิสิทธิ์ ที่พึ่งแพ้การเลือกตั้งครั้งนี้ ไม่เคยชนะการเลือกตั้งเลย แต่แย่กว่านั้น ผลงานของรัฐบาลนี้ มีแต่สิ่งเลวร้ายคือ ปกปิดข้อมูลและเซ็นเซอร์สื่ออย่างรุนแรง เพิ่มจำนวนนักโทษการเมืองในคดี 112 อย่างสุดขั้ว เข่นฆ่าประชาชนผู้รักประชาธิปไตย เกือบ 90 ศพ ด้วยทหารสไนเบอร์ และสร้างความตึงเครียดที่ชายแดนเขมรจนเกิดการยิงกันอย่างไร้เหตุผลโดยสิ้น เชิง สรุปแล้วรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ได้ลากสังคมไทยให้ถอยหลังลงคลองอย่างเดียว และโกหกเพื่อหลอกลวงประชาชนไทยและชาวโลกอีกด้วย .... แต่คนส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกหลอกแต่อย่างใด

     การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นก้าวแรกที่สำคัญในการกู้ประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพกลับมา...

     อย่างไรก็ตามการเลือกตั้งอย่างเดียวแก้วิกฤตไทยไม่ได้ และที่สำคัญคือ การแก้วิกฤตจะไม่สำเร็จถ้ามีการ “ปรองดอง” หรือ “ประนีประนอม” กับฝ่ายเผด็จการ เพราะภาระสำคัญของชาวประชาธิปไตย คือการสร้างมาตรฐานสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ ผ่านการรื้อถอนพิษภัยของเผด็จการทั้งหมด ในเรื่องนี้ผมไม่ได้เสนอให้ “แก้แค้น” ใคร แต่เราต้องไม่ปล่อยให้คนที่กระทำความผิดลอยนวล และปล่อยให้มีการละเมิดเสรีภาพเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีก ดังนั้นภาระเร่งด่วนของชาวประชาธิปไตยคือ

1. ต้องปล่อยนักโทษการเมืองทุกคนทันที และการยกเลิกคดีการเมือง อันนี้รวมถึงการปล่อยนักโทษเสื้อแดงในทุกจังหวัด และนักโทษคดี 112 อีกด้วย

2. ต้องปลด ผบทบ. ประยุทธ์ ออกจากตำแหน่ง ในฐานะที่แทรกแซงการเมืองในช่วงหาเสียง และในฐานะที่ออกมาแสดงความเห็นคัดค้านนโยบายของพรรคเพื่อไทย เพราะ ผบทบ. ต้องไม่มีอำนาจพิเศษ ต้องรับใช้รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว ตามกติกาประชาธิปไตยสากล

3. ต้องนำ นายอภิสิทธิ์ นายสุเทพ นายประยุทธ์ และนายอนุพงษ์ ขึ้นศาลในคดีฆ่าประชาชนที่ผ่านฟ้าและราชประสงค์

4. ต้องยกเลิกรัฐธรรมนูญปี ๕๐ ของทหาร และนำรัฐธรรมนูญปี ๔๐ กลับมาใช้ชั่วคราว ก่อนที่จะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ที่เป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้

5. ต้องยกเลิกการเซ็นเซอร์สื่อมวลชน อินเตอร์เน็ด และวิทยุชุมชนทันที เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน

6. ต้องยกเลิกกฏหมาย 112 และ พรบ. คอมพิวเตอร์ เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก

     และในระยะยาว สังคมไทยจะต้องเริ่มกระบวนการปฏิรูปกองทัพอย่างถอนรากถอนโคน เพื่อลดงบประมาณทหาร นำกองทัพออกจากสื่อ และลดบาทกองทัพในการแทรกแซงการเมือง นอกจากนี้ต้องทบทวนและปฏิรูประบบยุติธรรมที่มีปัญหาสองมาตรฐานมาตลอด และต้องมีการพัฒนาสังคมไทยสู่รัฐสวัสดิการ ในรูปแบบ “ถ้วนหน้า-ครบวงจร-ผ่านการเก็บภาษีจากคนรวย” เพื่อเพิ่มความเท่าเทียมและความเป็นธรรมทางสังคม

     สิ่งเหล่านี้จะเป็นเครื่องชี้วัดความจริงใจและอุดมการณ์ประชาธิปไตยของ รัฐบาลใหม่ เพราะแค่การหมุนนาฬิากากลับไปก่อนรัฐประหาร ๑๙ กันยา และการ “ลืม” อาชญากรรมของฝ่ายอำมาตย์ จะต้องถือว่าเป็นความล้มเหลว

     ภาระทั้งหมดอันสำคัญเหล่านี้ เราคงเดาได้ว่าพรรคเพื่อไทยคงจะไม่มีเจตตนาในการผลักดันหรือกระทำแต่อย่างใด ดังนั้นขบวนการเสื้อแดงจะต้องรวมตัวกัน และเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง เพื่อกดดัน หรือ “ช่วย” ให้รัฐบาลกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง เสื้อแดงสำคัญอย่างยิ่งในช่วงนี้ เพราะเราจะต้องไม่ปล่อยให้คนเสื้อแดงที่เสียสละและออกมาสู้เพื่อประชาธิปไตย โดนทอดทิ้งหรือหักหลัง

Permalink

July 4th, 2011 by Chris Baker

http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2011/07/04/regional-voting/

This is the result soon after midnight, with 95% of the vote counted. Around 5 seats are very close and could change on the final count.

As in every poll since 2001, the voting has a strong regional pattern.

In the upper north and most of the northeast, Pheu Thai not only swept all the seats but won huge majorities. Pheu Thai also did well on the outskirts of the capital. This is the same as in 2007. They did better than 2007 in the central region.

The Democrats won the south, western hills, and eastern seaboard (except Chonburi where the Khunpleum family has formed a private party), again mostly with huge majorities. They again won the city centre, gaining more seats than in 2007, but often with very narrow majorities. They did better than 2007 in the Malay-Muslim far south.

The other parties in total won about the same proportion of total seats as in 2007. Banharn’s party has been halved in size.

Permalink

This victory is empty for the workers of Thailand. The populist Pheu Thai Party is no opponent of capitalism and of monarchism. Their former leader is a capitalist businessman ( very rich ) and did nothing to end poverty during his time as prime minister.

The Thai; Democratic Party and the Pheu Thai Party are bourgeoisie parties, pro-capitalist and no defenders of the poor and the workers. Thailand needs a worker’s party. Yet I doubt that party will be legal, because all anti-monarchist voices are silenced. Those who insult or oppose the king of Thailand are arrested. A left-wing socialist movement would face arrests and brutal attacks by the intolerant monarchist government of Thailand.